Society

เชียร์ลีดเดอร์: กิจกรรมชมรม หรือการสานต่ออำนาจนิยม ?

เรื่องและภาพ: ปาณิสรา ช้างพลาย คำเตือน: เนื้อหาพูดถึงความรุนแรงทางร่างกาย และความรุนแรงทางใจ ‘อำนาจนิยม’ เป็นฐานของปัญหาในระบบการศึกษาที่ฝังรากลึกมาอย่างยาวนาน ทั้งยังมีกระบวนการขัดเกลาทางสังคมที่แฝงอุดมการณ์บางอย่าง จนทำให้คนที่ถูกใช้อำนาจไม่รู้ตัวหรือยอมจำนนต่ออำนาจนั้น ซึ่งกระทำผ่านการสร้าง ‘ผู้ใช้อำนาจ’ ให้มีสถานะเหนือกว่าเพื่อความชอบธรรมในการออกคำสั่ง และสร้าง ‘ผู้อยู่ใต้อำนาจ’ ให้ยอมรับและทำตามผู้ออกคำสั่งนั้นอย่างไม่ตั้งคำถาม เราจะพบเห็นการใช้อำนาจในลักษณะนี้แฝงอยู่ในเกือบทุกกิจกรรมของระบบการศึกษา ตั้งแต่ก้าวเข้ารั้วโรงเรียน ผ่านการกำหนดกฎระเบียบตั้งแต่หัวจรดเท้า ไปจนถึงกิจกรรมต่างๆ นอกห้องเรียน ...

Society

บทเรียนและบาดแผลที่ครูฝากไว้

เรื่องและภาพ: ปาณิสรา ช้างพลาย คำเตือน: เนื้อหาพูดถึงความรุนแรงภายในสถานศึกษา ทั้งความรุนแรงทางร่างกาย และความรุนแรงทางใจ ‘ครู’ ในความทรงจำของคุณเป็นคนอย่างไร ?ครูที่อบรมพร่ำสอนให้เราเติบโตไปอย่างมีคุณภาพ ครูที่กวดขันให้เราเชี่ยวชาญในสาขาวิชาต่างๆ ครูที่ทุ่มเทเอาใจใส่จนเป็นตัวแทนของคำว่า ‘พระคุณที่สาม’ หรือครูที่เราอาจจำบทเรียนที่เคยเรียนด้วยได้เลือนลาง แต่กลับจำบาดแผลที่ครูคนนั้นฝากไว้ได้ชัดเจน ...

Society

ผู้หญิงกับงานบ้านผ่านสื่อโฆษณา: พื้นที่ต่อรองทางอำนาจหรือการผลิตซ้ำ

เรื่อง : พัณณิตา ดอนเลย ภาพประกอบ : เก็จมณี ทุมมา ภาพของผู้หญิงในสังคมโลก โดยเฉพาะสังคมเอเชียมักถูกผูกติดไว้กับบทบาทความเป็นแม่และเมีย การรักนวลสงวนตัว หรือแม้แต่การเป็น “แม่ศรีเรือน” ส่งผลให้งานบ้านและเครื่องใช้ในครัวถูกยึดโยงว่าเป็นสินค้าในหน้าที่ของเพศหญิง ซึ่งการผูกโยงงานกับเพศไม่ได้จำกัดอยู่แค่เพียงชีวิตประจำวันเท่านั้น ...

Society

แฟนคลับเอาไงดี ศิลปินตีกันแล้ว

เรื่องและภาพ : เจตณัฐ พิริยะประดิษฐ์กุล เชื่อว่าทุกคนมีศิลปินที่ชื่นชอบในดวงใจที่ทำให้เราคอยติดตามผลงาน ตามซัพพอร์ตการกระทำเกือบทุกอย่างของเขา ทำให้เราเรียกตัวเองว่าแฟนคลับอย่างภาคภูมิใจ ยิ่งผลงานหรือไลฟ์สไตล์ของศิลปินโดนใจมากเท่าไร เราก็ยิ่งชื่นชอบและอยากสนับสนุนมากเท่านั้น ทุกคนคงไม่ได้ชื่นชอบศิลปินเพียงแค่คนเดียวบนโลกใบนี้ บางคนอาจชอบเป็นสิบ หรือเป็นร้อยคนก็ได้ ยิ่งถ้าศิลปินที่ชอบได้มีโอกาสสร้างผลงานร่วมกัน (collab) เราคงดีใจจนตัวลอย ...

Society

แนวทางการปฏิบัติงานของสื่อ บนเพดานจริยธรรมที่กำลังขยับสูงขึ้น

เรื่องและภาพ: ปาณัสม์ จันทร์กลาง เหตุการณ์การกราดยิงที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จ.หนองบัวลำภูในวันที่ 6 ตุลาคมที่ผ่านมาเป็นสิ่งที่ไม่ควรเกิดขึ้นซ้ำในสังคมไทย หลังจาก ‘เหตุกราดยิงโคราช’ ครั้งก่อนที่ห้างสรรพสินค้า Terminal21 จ.นครราชสีมา เมื่อปี 2563 ที่นอกจากจะสร้างความเศร้าโศกเสียใจให้กับคนไทยมาแล้ว ...

Society

ค่าใช้จ่ายแฝงของการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย

เรื่อง : ธนัชชา สิริคุณานันทน์กุล ภาพประกอบ : ปาณิสรา ช้างพลาย ว่ากันว่า การก้าวเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัยถือเป็นจุดเริ่มต้นสำหรับการใช้ชีวิตเป็นผู้ใหญ่อย่างแท้จริง เพราะเราจะได้ออกมาใช้ชีวิตด้วยตัวเอง ได้รับเงินเป็นรายเดือนและวางแผนบริหารจัดการเงินนั้นด้วยตัวเอง ค่าใช้จ่ายในการเรียน เช่น ค่าเทอม ...

Society

Woke Marketing: นี่ตื่นตัวกันจริงๆ หรือแค่ตามกระแส?

เรื่อง: เจตณัฐ พิริยะประดิษฐ์กุล ภาพ: ณัฐธนาวดี วงศ์วารห้อย ในยุคนี้ ผู้คนในโลกโซเชียลมักจะตื่นตัวและรณรงค์ขับเคลื่อนปัญหาสังคมกันอยู่ตลอดเวลา แต่ละช่วงก็จะมีประเด็นที่ตื่นตัวแตกต่างกันออกไป เช่น ด้านสิ่งแวดล้อม, ความเท่าเทียมทางเพศ, การกีดกันหรือเหยียดสีผิว ตัวอย่างประเด็นร้อนที่ชาวโซเชียลกำลังตื่นตัวและถกเถียงกันก่อนหน้านี้ คงหนีไม่พ้นกรณีที่นักร้องคนดำอย่าง Halle Bailey ได้รับบทเป็น Ariel เจ้าหญิงเงือกน้อยในภาพยนตร์ The Little Mermaid เวอร์ชัน live action ในเครือ Walt ...

Society

เมื่อไม่ได้หวังรวย แค่อยากเล่นหวยเพื่อคุยกับชาวบ้าน

เรื่อง : พรรณรมณ ศรีแก้ว ภาพ : ปาณิสรา ช้างพลาย เมื่อพูดถึงหวย คุณนึกถึงอะไร  พรุ่งนี้รวยในราคา 80 บาท ความหวังในการยกระดับชีวิต การลงทุนที่มีความเสี่ยงสูง หรือความสนุกชั่วครั้งชั่วคราว ที่รู้ว่าเสี่ยงแต่คงต้องขอลองสักหน่อย  รายงานสถานการณ์การพนันในสังคมไทยปี 2564 ...

Society

ฝน…หยุด! : เมื่อสิ่งที่ซ่อนอยู่ภายใต้การ ‘ปักตะไคร้’ ไม่ได้หยุดพร้อมกับสายฝน

เรื่อง : พรรณรมณ ศรีแก้ว ภาพ : ณัฐกมล สิทธิวงศ์ หลายคนคงทราบกันดีว่าสภาพอากาศไม่ใช่สิ่งที่มนุษย์อย่างเราจะสามารถออกคำสั่งให้เป็นไปดังใจหวังได้ แต่ในฤดูกาลที่ฝนฟ้าไม่เป็นใจต่อการเดินทางหรือการทำกิจกรรมต่างๆ อย่างน้อยวิธีการทาง‘ไสยศาสตร์’ ก็อาจช่วยสร้างความหวังในการรอให้ฝนหยุดตกได้ ซึ่งวิธีที่ทุกคนนึกถึงคงหนีไม่พ้น ‘การปักตะไคร้’ การปักตะไคร้เป็นพิธีกรรมหนึ่งที่มีมาอย่างยาวนานตามภูมิภาคต่างๆ ของประเทศไทย แม้จะไม่ปรากฏหลักฐานอย่างแน่ชัดว่ามีต้นกำเนิดความเชื่อมาจากไหน แต่ลักษณะร่วมของพิธีกรรมดังกล่าวในหลายๆ พื้นที่ก็คือ ...

Posts navigation