Media

วันป่าไม้โลก – อากาศที่แตกต่าง

เขียน สมิตา พงษ์ไพบูลย์

ภาพ  สมิตา พงษ์ไพบูลย์

วันป่าไม้โลก วันที่ 21 มีนาคม ของทุกปี

ป่าไม้มีความสำคัญแค่ไหน เป็นสิ่งที่รู้ซึ้งอยู่แล้ว แต่การไม่มีป่าไม้เป็นอย่างไร ช่วงหลายปีหลังมานี้ ถึงเริ่มเข้าใจขึ้นเรื่อยๆ

ท่ามกลางเสียงบีบแตรของรถ เสียงเสียดสีกับถนนของล้อที่คนบังคับ และภาพของฟ้าเหนือตึกสูงที่ขุ่มมัวเหมือนหมอกในหน้าหนาว แต่แสบจมูกยามสูดดมเข้าไปเต็มปอด 

แท้จริงเป็นฝุ่นที่ถูกกดไว้เหนือหัวคน

ใช้ชีวิตอย่างนั้นจนคล้ายจะชาชิน แต่ไม่นานมานี้ เมื่อได้เดินทางข้ามอ่าวไทยไปฝั่งด้ามขวานของประเทศ ทันทีที่ได้ลืมตาเห็นฟ้าที่ฟ้ากระจ่าง ยกซี่โครงขึ้นให้อากาศได้เดินทางเข้าไปแทนที่ฝุ่นหนา นาทีนั้นจึงได้รู้ว่า

“อากาศดีเป็นอย่างนี้นี่เอง”

ในจังหวัดเดียวกัน นครศรีธรรมราช แต่ขยับเข้าไปที่ ตำบลน้ำตก อำเภอทุ่งสง มีป่าที่ชื่อว่า ‘ป่าชุมชนอ่าวอ้ายยอ’ 

ในป่าชุมชน ที่คนในชุมชนเป็นผู้ดูแลป่า ใช้ชีวิตร่วมกับป่า ใช้สอยผลผลิตจากป่าได้ และพึ่งพากันอย่างเป็นระบบ … จึงได้เห็นป่า และ ไม้ ที่ยังอุดมสมบูรณ์ ยังไม่ถูกแปรเปลี่ยน ฉาบปูน เป็นสิ่งก่อสร้าง แม้สูงเสียดฟ้าเหมือนกัน แต่ความรู้ความรู้สึกต่างกันสิ้นเชิง…

เข้าป่า ให้ป่ากอด

สิ่งมีชีวิตตัวน้อย

ดอกไม้กลางป่า

กิ่งไม้ แม้ตายแล้ว แต่เป็นที่กำเนิดให้ชีวิตใหม่

เจ้าบ้านและผองเพื่อน

ไลเคนขาวปกคลุมเปลือกไม้

เห็ดที่ห้ามกิน

ม่านเถาวัลย์


ความรู้สึกของคุณหลังอ่านบทความนี้เป็นอย่างไร ?

Like ถูกใจ
1
Love รักเลย
4
Haha ตลก
0
Sad เศร้า
0
Angry โกรธ
0

More in:Media

Media

สัปเหร่อ: อาชีพผู้ปิดทองหลังพระ (เมรุ)

เรื่องและวีดีโอ: ปิยะพร สาวิสิทธิ์ ‘ปู่น้อย – บุญศรี ปริวันตา’ เป็นที่รู้จักกันดีในกลุ่มชาวบ้านของหมู่บ้านเล็กๆ ในจังหวัดมหาสารคาม ในฐานะ ‘สัปเหร่อ’ ประจำหมู่บ้าน ปู่น้อยคอยทำหน้าที่ส่งร่างผู้ตายครั้งสุดท้ายสู่เถ้ากระดูก มาตั้งแต่ปีพ.ศ. 2516 ...

chinese opera 2024 Writings

ส่องหลังม่านการแสดงงิ้ว โลกหลังเวทีของเหล่า ‘คนแปลกหน้า’

เรื่องและภาพประกอบ : วรพร รุ่งวัฒนโสภณ นอกจากอากาศที่ร้อนระอุในเดือนเมษายน และต้นข้าวในท้องนาริมถนนที่ถูกเก็บเกี่ยว การเดินทางกลับบ้านในช่วงวันหยุดยาวครั้งนี้ มีสิ่งหนึ่งที่ฉันตั้งตารอ  . ‘ศาลเจ้าแม่ทับทิม’ ริมแม่น้ำบางปะกงได้รับการบูรณะในปี 2560 และในทุกๆ ปี ศาลเจ้าจะจัดการแสดงงิ้ว ...

Writings

When the party’s over, what do we need to recover? งานธรรมศาสตร์แฟร์ ทิ้งปัญหาอะไรไว้ให้เราบ้าง

เรื่องและภาพประกอบ : สิทธิเดช สายพัทลุง “ฟ้าหลังฝนย่อมสวยงามเสมอ” คำพูดที่มีความหมายว่า แม้จะเจออะไรที่แย่ขนาดไหน แต่หลังจากที่มันผ่านไป ก็จะมีสิ่งดีตามมาเสมอแต่สำหรับงานธรรมศาสตร์แฟร์ (Thammasat Fair) เหมือนว่าจะไม่ใช่แบบนั้น งานธรรมศาสตร์แฟร์จัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 มีนาคม ...

Writings

เพราะธรรมศาสตร์ (แฟร์) สอนให้ฉันรักสัตว์?

เรื่อง : ปิยะพร สาวิสิทธิ์ ภาพประกอบ : ชวิน ชองกูเลีย, วรพร รุ่งวัฒนโสภณ และ สิทธิเดช สายพัทลุง หลายคนคงทราบกันว่าช่วงวันที่ 18 ...

Shot By Shot

Finding Braille Block ธรรมศาสตร์แฟร์กับเบรลล์บล็อกที่หายไป

เรื่องและภาพประกอบ : วรพร รุ่งวัฒนโสภณ ระหว่างทางเดินจากประตูเชียงราก 1 เข้าไปยังงานแฟร์ครั้งแรกของมหาวิทยาลัยรัฐชื่อดังย่านรังสิต ปรากฏเส้นทางของแผ่นกระเบื้องจัตุรัสสีเหลืองกว้างราว 30 ซม. วางต่อกันยาวไปตามทางเท้า บ้างเป็นแผ่นที่สมบูรณ์ บ้างก็เป็นแผ่นที่แตกหัก ก่อนเส้นทางจะขาดหายไปอย่างไร้เหตุผล ทั้งที่ข้างหน้าไม่ใช่ทั้งทางม้าลาย ...

Shot By Shot

มีงาน มีที่จอดรถ แต่ไม่พอ หรือมักง่าย? ว่าด้วย ม.ธรรมศาสตร์ และที่จอดรถเมื่อมี Event

เรื่องและภาพประกอบ : ชวิน ชองกูเลีย ระหว่างวันที่ 18 – 29 มีนาคม 2567 ภายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิตมีการจัดงาน ‘ธรรมศาสตร์แฟร์’ เป็นครั้งแรก ภายใต้คอนเซ็ปต์ ...

0 %

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • Google Analytics

    คุ้กกี้ที่เราเก็บไป จะนำไปใช้เพื่อประกอบการวิเคราะห์การอ่านบทความ/ข่าวภายในเว็บไซต์เท่านั้น จะไม่มีการนำข้อมูลผู้ใช้ไปใช้ในเชิงพาณิชย์แต่อย่างใด

Save