Society

สวัสดิการและประกันสังคมของแรงงานข้ามชาติ ตั้งแต่เข้าไม่ถึง ไปถึงไม่รู้ว่าตัวเองควรได้

เรื่องและภาพ: เจตณัฐ  พิริยะประดิษฐ์กุล และ พรรณรมณ ศรีแก้ว แรงงานข้ามชาติ นับว่าเป็นแรงงานสำคัญอย่างยิ่งในสังคมไทย เพราะพวกเขาเข้ามาเติมช่องว่างแรงงานในประเทศไทย ทำงานที่คนไทยไม่นิยมทำ เช่น งานอันตราย งานที่ต้องใช้แรง หรืองานที่ต้องเจอกับสิ่งสกปรก แรงงานข้ามชาติมักจะเป็นแรงงานสัญชาติพม่า ...

Society

สรุปเสวนาวิชาการ “ย้อนรอยอำนาจ กสทช. หลังมติให้ควบรวมทรู-ดีแทค”

เรื่อง: เจตณัฐ พิริยะประดิษฐ์กุล ภาพ: สภาองค์กรของผู้บริโภค วันที่ 20 ตุลาคม 2565 คณะกรรมการกิจการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม (กสทช.) จำนวน 5 ...

Art & Culture

ทักษะ ความพยายามของนักวาด ที่กำลังถูกช่วงชิงไปด้วย AI Artist

เรื่องและภาพ: ปาณัสม์ จันทร์กลาง ตอนเด็กๆ ผมเป็นคนที่วาดรูปไม่เก่งเอาเสียเลย ถึงจะมีภาพอยู่ในหัว แต่ก็ไม่สามารถถ่ายทอดมันออกมาเป็นรูปภาพได้เท่ากับที่จินตนาการไว้ แต่ผมไม่คิดเลยว่าในวันนี้ผมจะทำได้ เลื่อนเมาส์ พิมพ์คีย์บอร์ด กด Enter! แล้วลุกไปยืดเส้นยืดสายสักหน่อยพอให้หายเมื่อย . . ...

Society

ว่าด้วยเรื่องความ ‘ไม่แฟร์’ ของการทำงานพาร์ทไทม์ที่ยากจะหลีกหนี

เรื่องและภาพ: ณัฐกมล สิทธิวงศ์ เป็นเรื่องที่ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า สำหรับคนคนหนึ่ง การก้าวเข้าสู่รั้วสถานศึกษาตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมไปจนถึงมหาวิทยาลัยหมายถึงการทุ่มเทเวลามหาศาลให้กับการเรียนหนังสือ ทำการบ้าน ปั่นโปรเจค และทุ่มเทเงินไปกับการทำกิจกรรมเพื่อเข้าสังคม ที่นับได้ว่ากินพลังงานชีวิตและเวลาไปมากกว่าครึ่งหนึ่งของวัน ทว่าก็มีอีกหลายคนที่นอกจากจะต้องแบ่งเวลาไปเรียนแล้ว ยังต้องแบ่งเวลาอีกส่วนไว้ทำงานพาร์ทไทม์ (part time) ด้วย ...

Lifestyle

จะตายตอนไหน ยังไง เมื่อไหร่ ไม่มีใครทราบ งั้นเรามาเตรียมตัวก่อนจะถึงเวลานั้นดีไหม

เรื่อง: พรรณรมณ ศรีแก้ว ภาพ: ปาณัสม์ จันทร์กลาง ถ้าพูดถึงคนที่ตายโดยธรรมชาติ ภาพที่คนส่วนใหญ่นึกถึงก็คงเป็นภาพคนวัยชราที่นอนหลับไป ไม่ใช่ภาพของวัยรุ่นหรือเด็กๆ และสมมติถ้าเราตายในวัยยี่สิบ ก็คงหนีไม่พ้นวลี ‘จากไปก่อนเวลาอันควร’ นั่นชวนตั้งข้อสงสัยว่าคนเรามีช่วงอายุที่เหมาะสมแก่การตายด้วยหรือ แล้วอายุเท่าไหร่ถึงจะเหมาะ เพราะเราไม่รู้เคยว่าจะตายตอนไหน ...

Society

Queerbaiting การตลาดที่ลดทอนอัตลักษณ์ทางเพศ และเสียงสะท้อนจากความหลากหลาย

เรื่องและภาพ: ปาณิสรา ช้างพลาย “ชอบผู้หญิงเพราะอกหักจากผู้ชาย-ยังไม่เจอผู้ชายดีๆ”, “เกย์นิยมแสดงออกเรื่องเพศ”, “ไบเช็กซ์ชวลไม่มีจริง แค่อยู่ในช่วงสับสน”, “ทรานส์แมนต้องแสดงออกเหมือนผู้ชาย” ฯลฯ ภาพจำหรือทัศนคติที่เหมารวม (stereotype) เหล่านี้เป็นความทรงจำกระแสหลักของผู้คนในสังคมที่มีต่อคนในคอมมูนิตี้ LGBTQIAN+ ทำให้กลุ่มคนที่มีความหลากหลายทางเพศมีภาพลักษณ์ที่ผูกกับอคติด้านเดียวจากสื่อที่พยายามฉายภาพซ้ำไปมาอย่างยาวนานจนเราจำได้ขึ้นใจ และปักธงว่าชาว LGBTQIAN+ ...

Writings

‘ทวิตภพ’ ภายใต้การนำของ Elon Musk: พื้นที่แห่งการแสดงออกอย่างเสรี หรือแหล่งบ่มเพาะ hate speech

เรื่องและภาพ: ณัฐกมล สิทธิวงศ์ หลายคนคงทราบข่าวที่สะเทือนวงการเทคโนโลยีไปพอสมควร เมื่อ Elon Musk ผู้บริหารระดับสูงสุดของบริษัท Tesla และ SpaceX ปิดดีลซื้อกิจการของสื่อโซเชียลมีเดียอย่าง twitter (ทวิตเตอร์) ได้สำเร็จ ในมูลค่า 44,000 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ราว 1.6 ล้านล้านบาท) พร้อมกับเชิญพนักงานระดับสูงออกทั้งหมด 4 คน ซึ่งหนึ่งในนั้นคือ CEO อย่าง Parag Agrawal ทั้งนี้การตัดสินใจซื้อกิจการนั้นมีเค้าลางมาให้เห็นตั้งแต่ช่วงกลางเดือนเมษายนที่ Musk ยื่นข้อเสนอแก่ทวิตเตอร์เป็นครั้งแรก จนนำมาซึ่งเสียงวิพากษ์วิจารณ์และสนับสนุนจากผู้ใช้งานทวิตเตอร์ที่มีจุดยืนทางสังคม หรือทางการเมืองที่แตกต่างกัน Free ...

Writings

Art Therapy: อีกหนึ่งทางเลือกสำหรับผู้ที่ต้องการระบายความรู้สึกผ่านงานศิลปะ

เรื่องและภาพ: ฌัชฌา สรนันท์ เมื่อเติบโตขึ้น ความเครียด ความกดดัน และภาระที่ต้องแบกรับก็มากขึ้นตามวัย ไม่ใช่เรื่องง่ายสำหรับใครหลายคนที่ต้องเผชิญกับความรู้สึกหม่นเศร้า และความอึดอัดที่อยู่ส่วนลึกของจิตใจ หนำซ้ำการพูดคุยกับใครสักคนก็อาจเป็นเรื่องยาก เพราะคนรับฟังอาจไม่เข้าใจความรู้สึกของเราได้ทั้งหมด หรือจะเป็นการถูกตัดสินจากคนภายนอก  และทำให้โดนปฏิบัติในทางที่ไม่เหมือนเดิม ศิลปะบำบัด หรือ Art Therapy จึงอาจเป็นอีกหนึ่งทางเลือกในการเยียวยาบาดแผลที่เกิดขึ้นภายในจิตใจได้ ศิลปะบำบัด ...

Writings

เชียร์ลีดเดอร์: กิจกรรมชมรม หรือการสานต่ออำนาจนิยม ?

เรื่องและภาพ: ปาณิสรา ช้างพลาย คำเตือน: เนื้อหาพูดถึงความรุนแรงทางร่างกาย และความรุนแรงทางใจ ‘อำนาจนิยม’ เป็นฐานของปัญหาในระบบการศึกษาที่ฝังรากลึกมาอย่างยาวนาน ทั้งยังมีกระบวนการขัดเกลาทางสังคมที่แฝงอุดมการณ์บางอย่าง จนทำให้คนที่ถูกใช้อำนาจไม่รู้ตัวหรือยอมจำนนต่ออำนาจนั้น ซึ่งกระทำผ่านการสร้าง ‘ผู้ใช้อำนาจ’ ให้มีสถานะเหนือกว่าเพื่อความชอบธรรมในการออกคำสั่ง และสร้าง ‘ผู้อยู่ใต้อำนาจ’ ให้ยอมรับและทำตามผู้ออกคำสั่งนั้นอย่างไม่ตั้งคำถาม เราจะพบเห็นการใช้อำนาจในลักษณะนี้แฝงอยู่ในเกือบทุกกิจกรรมของระบบการศึกษา ตั้งแต่ก้าวเข้ารั้วโรงเรียน ผ่านการกำหนดกฎระเบียบตั้งแต่หัวจรดเท้า ไปจนถึงกิจกรรมต่างๆ นอกห้องเรียน ...

Data

บทเรียนและบาดแผลที่ครูฝากไว้

เรื่องและภาพ: ปาณิสรา ช้างพลาย คำเตือน: เนื้อหาพูดถึงความรุนแรงภายในสถานศึกษา ทั้งความรุนแรงทางร่างกาย และความรุนแรงทางใจ ‘ครู’ ในความทรงจำของคุณเป็นคนอย่างไร ?ครูที่อบรมพร่ำสอนให้เราเติบโตไปอย่างมีคุณภาพ ครูที่กวดขันให้เราเชี่ยวชาญในสาขาวิชาต่างๆ ครูที่ทุ่มเทเอาใจใส่จนเป็นตัวแทนของคำว่า ‘พระคุณที่สาม’ หรือครูที่เราอาจจำบทเรียนที่เคยเรียนด้วยได้เลือนลาง แต่กลับจำบาดแผลที่ครูคนนั้นฝากไว้ได้ชัดเจน ...

Posts navigation